15.2 Supporting land ecosystems through education
ลำดับ |
กิจกรรม |
15.2.1 Events about sustainable use of land
ลำดับ |
กิจกรรม |
1 | โครงการประกวดสวนมุมสวย ปี 7 |
15.2.3 Maintain and extend current ecosystems' biodiversity
ลำดับ |
กิจกรรม |
15.2.4 Educational programmes on ecosystems
ลำดับ |
กิจกรรม |
15.2.5 Sustainable management of land for agriculture and tourism
ลำดับ |
กิจกรรม |
15.3 Supporting land ecosystems through action
ลำดับ |
กิจกรรม |
15.3.3 Local biodiversity included in planning and development
ลำดับ |
กิจกรรม |
ชื่อกิจกรรม/โครงการ : โครงการประกวดสวนมุมสวย ปี 5 วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล
ตัวชี้วัด : เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (17 SDGs Goal) เป้าหมายที่ 15 ปกป้อง ฟื้นฟู และสนับสนุนการใช้ระบบนิเวศบนบกอย่างยั่งยืน จัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน ต่อสู่กับการกลายสภาพเป็นทะเลทราย หยุดการเสื่อมโทรมของที่ดินและฟื้นสภาพกลับมาใหม่ และหยุดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
ที่มาและความสำคัญ : มหาวิทยาลัยมหิดลเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน จึงได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืน พ.ศ.2563-2566 โดยมีนโยบายส่งเสริมการสร้างความเป็นมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ (Eco-University) ที่มีเป้าหมายชัดเจนของการสร้างให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) อันนำมาซึ่งความมีประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร ความเท่าเทียมกันทางสังคมและคุณภาพชีวิตที่ดีของบุคลากร นักศึกษา จึงได้จัดโครงการประกวดสวนมุมสวยปี 7 ปีงบประมาณ 2565 เป็นการส่งเสริมการดำเนินด้านสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืนของมหาวิทยาลัย พื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ให้มากขึ้น โดยพัฒนาพื้นที่ว่างหรือพื้นที่สีเขียวเดิมให้ใช้ประโยชน์ให้มากขึ้นสอดคล้องกับกิจกรรมนักศึกษา กีฬา หรือนันทนาการของนักศึกษา และบุคลากร วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา จึงเข้าร่วมโครงการประกวดสวนมุมสวย ปี 7 เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบายของมหาวิทยาลัย เพื่อพัฒนาบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อม ที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ และการปฏิบัติงานเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของนักศึกษา บุคลากร ผู้มาใช้บริการ ตลอดจนประชาชนทั่วไป
รายละเอียดของกิจกรรม/โครงการ : วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา จัดสวนมุมสวยบริเวณด้านข้างอาคารวิทยาลัยฯ เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพิ่มมากขึ้น และการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยจากกิจกรรมต่างๆ และมีส่วนร่วมในการปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ของมหาวิทยาลัยฯสนับสนุนการดำเนินงานตาม นโยบายของมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศน์ ส่งผลให้นักศึกษา และบุคลากร ของวิทยาลัยฯ ตลอดจนชุมชนรอบข้างมหาวิทยาลัยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น